ThaiSEOBoard.com

อื่นๆ => Cafe => ข้อความที่เริ่มโดย: gamettt ที่ 10 มกราคม 2012, 20:56:36



หัวข้อ: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้างครับ จะถามหน่อยครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: gamettt ที่ 10 มกราคม 2012, 20:56:36
พรุ่งนี้สอบเรื่อง DNA อะไรสักอย่างนี่แหละครับ เป็นชีวะ ม.1

ผมไม่เข้าใจคำว่า เบสคู่สม (complementary Base)

ระหว่าง A-T G-C อะไรสักอย่างนี่แหละครับ

ผมไม่เข้าใจเลย... :'(


หัวข้อ: Re: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้างครับ จะถามหน่อยครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: atikanzaa ที่ 10 มกราคม 2012, 20:59:34
พึ่งเรียนไป ครับ

เหมือนมันเป็นการจับคู่ครับผม

ตอนนี้ลืมไปหล่ะ

= จะเป็นจะเป็าคู่นึง
- จะเป็นอีกคู่นึง

มันจะมีโยงให้ดู ที่ครูสอนนะ ตอนนี้ลืมหมดหล่ะ 555 พึ่งเรียนไปแท้ๆ

เซราะกราวขน๊าดหนัก แล้วผม  :wanwan004:


หัวข้อ: Re: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้างครับ จะถามหน่อยครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: gamettt ที่ 10 มกราคม 2012, 21:01:22
พึ่งเรียนไป ครับ

เหมือนมันเป็นการจับคู่ครับผม

ตอนนี้ลืมไปหล่ะ

= จะเป็นจะเป็าคู่นึง
- จะเป็นอีกคู่นึง

มันจะมีโยงให้ดู ที่ครูสอนนะ ตอนนี้ลืมหมดหล่ะ 555 พึ่งเรียนไปแท้ๆ

เซราะกราวขน๊าดหนัก แล้วผม  :wanwan004:
จ๊ากกกก. มันยากมากกกก.  :-X  :-X


หัวข้อ: Re: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้างครับ จะถามหน่อยครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: chui761 ที่ 10 มกราคม 2012, 21:09:12
ไม่เข้าใจตรงไหนครับ ลองยิงคำถามมาเป็นข้อๆ ดู จะได้ช่วยตอบ

เบสคู่สมจำง่ายๆ ครับ A คู่กับ T
G คู่กับ C

เช่นสาย DNA ข้างหนึ่งเป็น. AACCGTCTA
อีกเส้นของสายคู่กันคือ.        TTGGCAGAT

เส้นข้างล่างเรียก complementary strand ครับ


หัวข้อ: Re: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้างครับ จะถามหน่อยครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: gamettt ที่ 10 มกราคม 2012, 21:13:23
ไม่เข้าใจตรงไหนครับ ลองยิงคำถามมาเป็นข้อๆ ดู จะได้ช่วยตอบ

เบสคู่สมจำง่ายๆ ครับ A คู่กับ T
G คู่กับ C

เช่นสาย DNA ข้างหนึ่งเป็น. AACCGTCTA
อีกเส้นของสายคู่กันคือ.        TTGGCAGAT

เส้นข้างล่างเรียก complementary strand ครับ
คำถามแรกเลยนะครับ
อ้างถึง
เช่นสาย DNA ข้างหนึ่งเป็น. AACCGTCTA
อีกเส้นของสายคู่กันคือ.        TTGGCAGAT
ทำไมถึงได้อย่างนี้ครับ?
และก็อีกคำถามนึงครับ
เพราะเหตุใด อัตราส่วนระหว่าง A+C กับ G+T จึงมีค่าใกล้เคียงกับหนึ่ง?
(จากโจทย์นะครับ)


หัวข้อ: Re: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้$
เริ่มหัวข้อโดย: มาส่องมาลอง ที่ 10 มกราคม 2012, 21:32:18
ATCG จำได้แค่เนี่ยที่เหลือใช้วิธีผสมพันธ์เอาเองเลย   :-[ เป็นตัวตอนใหนเป็นรู้กาน


หัวข้อ: Re: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้างครับ จะถามหน่อยครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: chui761 ที่ 10 มกราคม 2012, 21:48:43
ไม่เข้าใจตรงไหนครับ ลองยิงคำถามมาเป็นข้อๆ ดู จะได้ช่วยตอบ

เบสคู่สมจำง่ายๆ ครับ A คู่กับ T
G คู่กับ C

เช่นสาย DNA ข้างหนึ่งเป็น. AACCGTCTA
อีกเส้นของสายคู่กันคือ.        TTGGCAGAT

เส้นข้างล่างเรียก complementary strand ครับ

คำถามแรกเลยนะครับ
อ้างถึง
เช่นสาย DNA ข้างหนึ่งเป็น. AACCGTCTA
อีกเส้นของสายคู่กันคือ.        TTGGCAGAT

ทำไมถึงได้อย่างนี้ครับ?
และก็อีกคำถามนึงครับ
เพราะเหตุใด อัตราส่วนระหว่าง A+C กับ G+T จึงมีค่าใกล้เคียงกับหนึ่ง?
(จากโจทย์นะครับ)


เป็นคำถามที่ต้องไปค้นหนังสือ basic ของ genetics มาตอบกันเลยทีเดียว จริงๆ ถ้าจะให้เล่าจะยาวเลยนะครับ เอาสรุปดูละกันว่าพอจะเข้าใจไหม

1. โครงสร้างของดีเอ็นเอนั้น จะประกอบไปด้วยเบส 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ เพียวรีน และไทลิมิดีน
เพียวรีน ก็มีเบส 2 อันคือ อะดีนีน (Adenine ตัวย่อ A) กับ กัวนีน (Guanine ตัวย่อ G)
ส่วนไพริมิดิน มีเบส 2 อันคือ ไทมิดีน (Thymidine ตัวย่อ T) กับ ไซโตซีน (Cytosine ตัวย่อ C)

เบสดังกล่าวในโครงสร้างของดีเอ็นเอ จะต่อกันเป็นสาย เรียกว่า สายนิวคลีโอไทด์ (คงไม่ลงลึกกว่านี้นะครับ คือ จริงๆ มีองค์ประกอบย่อยอีก เช่น มีอะไรมาเชื่อมต่อด้วยพันธะอะไร เอาแค่นี้ละกัน อยากรู้อ่านพวกเว็บสอนพันธุศาสตร์ครับ)

สรุปก่อนนะครับ ดีเอ็นเอ มีเบสที่เกี่ยวข้อง 4 ตัว ตัวย่อก็ A T C และ G

2. ทำไม A+C / G+T จึงมีค่าใกล้เคียง 1 อันนี้ย้อนไปปี คศ. 1947 มีการทดลองของ E Chargaff ได้ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งมีชีวิตประเภทต่างๆ เช่น คน วัว ข้าวโพด ยาสูบ ได้ผลการทดลองดังตารางเว็บนี้
http://www.ceted.org/webbio/chapter07/index_l07_p16.php

ดังนั้นจากการทดลองนี้จึงสรุปได้ว่า
องค์ประกอบของดีเอ็นเอมีคุณสมบัติดังนี้
1. ไม่ว่าจะเป็น DNA ของสิ่งมีชีวิตชนิดใด ปริมาณของเบสพิวรีนเท่ากับปริมาณของเบสไพริมิดิน
2. ปริมาณของอะดินีน เท่ากับปริมาณของไทมิน
3. ปริมาณของกัวนินเท่ากับปริมาณของไซโตซีน
4. อัตราส่วนของ A+C กับ G+T หรือ A+G กับ T+C จะมีค่าใกล้เคียงหนึ่งเสมอ

จากนั้นปีค.ศ. 1950 MHF Wilkin และ RE Franklin นักฟิสิกต์ชาวอังกฤษ ได้ศึกษาโครงสาร้าง DNA ของสิ่งมีชีวิต ด้วยวิธีใช้รังสี X-ray ได้ผลออกมา และก็เสนอโครงสร้างว่า DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์หลายสาย มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 22 อังสตรอม และมีส่วนซ้ำๆ กันอยู่ทุกๆ 34 อังสตรอม

ต่อมา ค.ศ. 1953 JD Watson นักชีวเคมีชาวอเมริกัน และ FH C Crick นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ได้ร่วมกันศึกษาโครงสร้างของดีเอ็นเอ โดยใช้ข้อมูลของนักวิทยาศาสตร์ 2 กลุ่มข้างต้น สรุปดและเสนอโครงสร้างออกมาว่า
โครงสร้างของดีเอ็นเอ ประกอบด้วย โพลีนิวคลีโอไทด์ 2 สายมาพันเป็นเกลียว หรือเป็นสายเกลียวคู่ (double helix) ทั้งสองสายจะขนานกันไปตลอด การจับคู่ของเบสทั้งสองสายจะเฉพาะเจาะจง โดยอะดีนิน (A) จะจับคู่กับไทมีน (T) ด้วยพันธะไฮโดรเจน 2 พันธะ และกัวนีนกับไซโตซีน ด้วยพันธะไฮโดรเจน 3 พันธะ (ถ้างง ให้ไปค้นดูว่าโครสร้างเบสแต่ละอันเป็นยังไงนะครับ)

สรุปว่า ถ้าจะตอบว่าทำไม A ถึงจับคู่สมกับ T และ G คู่กับ C ก็น่าจะตอบได้ว่า
เป็นผลมาจากการทดลอง ของ ชาร์กาฟ ในปี ค.ศ. 1947 และเนื่องจากโครงสร้างโมเลกุลของเบส A จับได้พอดีกับ T และ G จับได้พอดีกับ C (ถ้าจะให้ละเอียด หัดเขียนโครงสร้างเบสแต่ละอันไว้ให้คล่องครับ จะง่ายเวลาตอบคำถามพวกนี้ แต่ผมลืมหมดละ 555++) ด้วยพันธะไฮโดรเจน

ส่วนทำไมอัตราส่วนของ A+C กับ G+T จึงได้ใกล้เคียง 1 ก็เพราะเป็นผลจากการทดลองของ ชาร์กาฟตามรางในลิงค์นั่นเองครับ
หรืออีกนัยนึง
อัตราส่วนของเบส พิวรีน (A หรือ G) ต่อ เบส ไพริมิดีน (C หรือ T) จะมีค่าใกล้เคียง 1 เสมอ


หัวข้อ: Re: มีใครเรียน หรือ เคยเรียน ชีวะ เรื่อง DNA บ้างครับ จะถามหน่อยครับ.
เริ่มหัวข้อโดย: gamettt ที่ 10 มกราคม 2012, 21:56:07
ไม่เข้าใจตรงไหนครับ ลองยิงคำถามมาเป็นข้อๆ ดู จะได้ช่วยตอบ

เบสคู่สมจำง่ายๆ ครับ A คู่กับ T
G คู่กับ C

เช่นสาย DNA ข้างหนึ่งเป็น. AACCGTCTA
อีกเส้นของสายคู่กันคือ.        TTGGCAGAT

เส้นข้างล่างเรียก complementary strand ครับ

คำถามแรกเลยนะครับ
อ้างถึง
เช่นสาย DNA ข้างหนึ่งเป็น. AACCGTCTA
อีกเส้นของสายคู่กันคือ.        TTGGCAGAT

ทำไมถึงได้อย่างนี้ครับ?
และก็อีกคำถามนึงครับ
เพราะเหตุใด อัตราส่วนระหว่าง A+C กับ G+T จึงมีค่าใกล้เคียงกับหนึ่ง?
(จากโจทย์นะครับ)


เป็นคำถามที่ต้องไปค้นหนังสือ basic ของ genetics มาตอบกันเลยทีเดียว จริงๆ ถ้าจะให้เล่าจะยาวเลยนะครับ เอาสรุปดูละกันว่าพอจะเข้าใจไหม

1. โครงสร้างของดีเอ็นเอนั้น จะประกอบไปด้วยเบส 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ เพียวรีน และไทลิมิดีน
เพียวรีน ก็มีเบส 2 อันคือ อะดีนีน (Adenine ตัวย่อ A) กับ กัวนีน (Guanine ตัวย่อ G)
ส่วนไพริมิดิน มีเบส 2 อันคือ ไทมิดีน (Thymidine ตัวย่อ T) กับ ไซโตซีน (Cytosine ตัวย่อ C)

เบสดังกล่าวในโครงสร้างของดีเอ็นเอ จะต่อกันเป็นสาย เรียกว่า สายนิวคลีโอไทด์ (คงไม่ลงลึกกว่านี้นะครับ คือ จริงๆ มีองค์ประกอบย่อยอีก เช่น มีอะไรมาเชื่อมต่อด้วยพันธะอะไร เอาแค่นี้ละกัน อยากรู้อ่านพวกเว็บสอนพันธุศาสตร์ครับ)

สรุปก่อนนะครับ ดีเอ็นเอ มีเบสที่เกี่ยวข้อง 4 ตัว ตัวย่อก็ A T C และ G

2. ทำไม A+C / G+T จึงมีค่าใกล้เคียง 1 อันนี้ย้อนไปปี 1947 มีการทดลองของ E Chargaff ได้ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งมีชีวิตประเภทต่างๆ เช่น คน วัว ข้าวโพด ยาสูบ ได้ผลการทดลองดังตารางเว็บนี้
[url]http://www.ceted.org/webbio/chapter07/index_l07_p16.php[/url]

ดังนั้นจากการทดลองนี้จึงสรุปได้ว่า
องค์ประกอบของดีเอ็นเอมีคุณสมบัติดังนี้
1. ไม่ว่าจะเป็น DNA ของสิ่งมีชีวิตชนิดใด ปริมาณของเบสพิวรีนเท่ากับปริมาณของเบสไพริมิดิน
2. ปริมาณของอะดินีน เท่ากับปริมาณของไทมิน
3. ปริมาณของกัวนินเท่ากับปริมาณของไซโตซีน
4. อัตราส่วนของ A+C กับ G+T หรือ A+G กับ T+C จะมีค่าใกล้เคียงหนึ่งเสมอ

จากนั้นปีค.ศ. 1950 MHF Wilkin และ RE Franklin นักฟิสิกต์ชาวอังกฤษ ได้ศึกษาโครงสาร้าง DNA ของสิ่งมีชีวิต ด้วยวิธีใช้รังสี X-ray ได้ผลออกมา และก็เสนอโครงสร้างว่า DNA ประกอบด้วยนิวคลีโอไทด์หลายสาย มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 22 อังสตรอม และมีส่วนซ้ำๆ กันอยู่ทุกๆ 34 อังสตรอม

เหลืออีกหน่อย เดี๋ยวมาพิมพ์ต่อ

ขอบคุณมากๆครับ.  :wanwan017: