ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

ThaiSEOBoard.comความรู้ทั่วไปGeneral (ถามคุยวิชาการ IM)ช่วยอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเวป b2c กับ c2b ทีครับผม
หน้า: [1]   ลงล่าง
พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: ช่วยอธิบายพร้อมยกตัวอย่างเวป b2c กับ c2b ทีครับผม  (อ่าน 33069 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
LoveForever
ก๊วนเสียว
*

พลังน้ำใจ: 14
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 327



ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 11 กรกฎาคม 2012, 21:25:14 »

คือตอนนี้กำลัง งงๆ
ระหว่าง b2c กับ c2b  มันต่างกันยังไง

แล้ว พวก paypal kbanking ที่โอนเงินออนไลน์

มันจัดอยู่ในกลุ่มพวกนี้ไหมครับ  แล้วกลุ่มแบบไหน


ยังไงท่านใดพอทราบ ช่วยยกตัวอย่าง เวปไซต์ ทีนะครับผม
บันทึกการเข้า

Fighting
LoveForever
ก๊วนเสียว
*

พลังน้ำใจ: 14
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 327



ดูรายละเอียด
« ตอบ #1 เมื่อ: 11 กรกฎาคม 2012, 22:16:07 »

ช่วยทีค๊าบ

ตอนนี้อยากรู้แค่ c2b  มากๆครับ

บันทึกการเข้า

Fighting
KaPonGZaYo
NEWS group
เจ้าพ่อบอร์ดเสียว
*

พลังน้ำใจ: 81
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4,431



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #2 เมื่อ: 11 กรกฎาคม 2012, 22:27:54 »

กลยุทธ์การค้าแบบ B-to-C
รูปแบบการค้าแบบ Business-to-Consumer หรือ B-to-C หมายถึง การขายสินค้าไปยังผู้บริโภคทั่วโลกโดยตรง โดยบริษัทหรือองค์กรธุรกิจที่ขายด้วยวิธีนี้ จักตัดตัวกลาง ไม่ว่าเป็นผู้นำเข้า ผู้จัดจำหน่าย พ่อค้าส่ง และพ่อค้าปลีกออกหมด ทั้งนี้เพื่อต้องการทำกำไรได้มากขึ้น ในขณะเดียวกันก็สามารถขายสินค้าได้ถูกลงด้วย เนื่องจากไม่ต้องแบ่งกำไรให้พ่อค้าคนกลาง
แต่อย่างไรก็ตาม ในหลักการทางการตลาดแล้ว “การยิ่งเข้าใกล้ผู้บริโภคมากเท่า ไหร่ ก็หมายถึงว่า ท่านมีความเสี่ยงที่จะต้องแบกความรับผิดชอบกับผู้บริโภคมากขึ้นเท่านั้น” ซึ่งก็เป็นไปได้ที่ท่านอาจจะถูกฟ้องร้องได้ จากสาเหตุการใช้สินค้าของท่าน เหตุเพราะเมื่อไม่มีองค์กรธุรกิจอย่างผู้นำเข้า หรือพ่อค้าคนกลางในตลาดเป้าหมายมาคั่นกลางไว้ มันมีโอกาสมากที่ท่านจะประเมินสถานการณ์ผิดพลาดได้ ทั้งนี้ เพราะการได้รับข้อมูลข่าวสารจากตลาดดังกล่าวอาจจะมีข้อผิดพลาดได้ หรือไม่ได้รับเลย เช่น เรื่องความต้องการที่แท้จริงของตลาดนั้น หรือพฤติกรรมการใช้สินค้าของผู้บริโภคในตลาดนั้น เป็นต้น นั่นคือ ท่านจะมีความเสี่ยงตั้งแต่การขายสินค้าไม่ได้ เพราะไม่ทราบถึงมาตรฐานสินค้าที่ควรจะเป็น และแม้กระทั่งไม่ทราบถึงกฎระเบียบด้านความปลอดภัยและสุขภาพต่างๆ จากตลาดนั้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ท่านจะต้องแลกเอากับการที่ท่านได้รับกำไรต่อหน่วยสินค้าที่สูงขึ้น ซึ่งท่านก็ต้องถามตัวท่านเองว่า พร้อมหรือถนัด หรือไม่? โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการให้บริการแบบ “เบี้ยหัวแตก” ที่ท่านต้องเอาใจลูกค้าจากทั่วโลกแต่ละบุคคล ซึ่งอาจจะมีความต้องการในรายละเอียดที่จุกจิก ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่ต้องสนองตอบให้ได้ เพราะมันคือ “กุญแจของความสำเร็จ” ของการค้าแบบ B-to-C


เว็บตัวอย่าง
http://www.se-ed.com




กลยุทธ์การค้าแบบ B-to-B
B-to-B หรือ Business-to-Business หมายถึง การค้าขายระหว่างองค์กรกับองค์กร การค้าแบบนี้ ทุกฝ่ายจะมีความคาดหวังสูงมาก ตั้งแต่ราคาที่นำเสนอขาย ที่ต้องถูกเป็นพิเศษ ปริมาณสินค้าที่ค้ากันต้องมีจำนวนมาก คุณภาพของสินค้าที่ต้องดีเยี่ยม การส่งมอบสินค้าที่ตรงเวลา และที่สำคัญก็คือ ท่านต้องพร้อมที่จะรับความเสี่ยงจากการได้กำไรต่อหน่วยที่ต่ำ และหากเกิดความเสียหายขึ้นก็จะเป็นยอดเงินที่สูงมาก
และอีกอย่างหนึ่งที่ท่านต้องพิจารณา คือ ความพร้อมในการเจรจาค้าขายในปริมาณมากๆ ซึ่งนั่นหมายถึงว่า ถ้าท่านไม่ได้เป็นผู้ผลิต ตัวท่านเองก็ต้องมีอำนาจต่อรองที่จะไปเจรจาเอาสินค้าราคาถูก(พอที่จะแข่งขันกับคู่แข่งทั่วโลก)มาจากโรงงานได้
ความจริงแล้ว การค้าแบบ B-to-B นี้ ก็ไม่จำเป็นว่า จักต้องค้ากับองค์ธุรกิจด้วยกันเสมอไป เราอาจจะค้ากับองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรธุรกิจก็ได้ หรืออาจจะเรียกว่า Business-to-Organization หรือ B-to-O ซึ่งในที่นี้หมายถึงหน่วยราชการและองค์กรที่ไม่ค้ากำไร หรือ NGO (Non Government Organization) ซึ่งบรรดาพวกวัสดุสินเปลืองต่างๆ นั้น หน่วยราชการ หรือองค์กรที่ไม่มุ่งหวังกำไรทั้งหลาย ก็มีความจำเป็นต้องใช้ หรือรวมถึงอุปกรณ์ในสำนักงานอื่นๆ ด้วย ซึ่งหน่วยงานส่วนใหญ่ สามารถที่จะจัดงบประมาณสั่งซื้อได้เลยโดยไม่ต้องประกวดราคาให้วุ่นวาย ต้องเรียนว่า หน่วยงานเหล่านี้ปัจจุบันใช้อินเตอร์เน็ตกันเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นการเข้าถึงจึงเป็นสิ่งที่ไม่ยากเย็นนัก และบางองค์กรที่เป็นองค์กรนานาชาติ อย่างหน่วยงานที่เกี่ยวโยงกับสหประชาชาติ ท่านก็อาจจะมีโอกาสสูงเหมือนกัน ที่จะขายให้องค์เหล่านี้ที่มีอยู่ทั่วโลก


เว็บตัวอย่าง
http://www.b2bthai.com/



กลยุทธ์การค้าแบบ C-to-C
C2C  (C2C : Consumer to Consumer)  นั้นก็จะหมายถึง การทำธุรกิจที่ติดต่อกับโดยตรงระหว่างลูกค้ารายย่อยที่ซื้อข่ายกันเอง จุดเด่นของธุรกิจในลักษณะนี้ก็คือ แต่ละคนจะเป็นเจ้าของสินค้าและเปิดร้านค้าของตนเอง แต่ปริมาณสินค้าของตนยังน้อยอยู่ไม่คุ้มค่าที่จะลงทุนทำ E-business จึงมักจะมีตัวกันเป็นกลุ่ม หรือมีตัวแทนรวบรวมเจ้าของเจ้าของสินค้ารายย่อยเหล่านี้ไว้ด้วยกัน แล้วจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้เช่น สร้างโฮมเพจให้ จัดการระบบเก็บเงิน และ ระบบส่งของให้ คล้ายๆ กับกิจกรรม เปิดท้ายขายของ ตามที่ต่างๆ นั่นเอง สำหรับตัวอย่างของระบบ C2C นี้ได้แก่ โฮมเพจของ Thai.com ที่อนุญาตให้เราเข้าไปเปิดร้านค้าย่อยบนอินเทอร์เน็ตได้


เว็บตัวอย่าง
http://www.thaisecondhand.com


เพิ่งทำส่งอาจารย์เลยครับ  จำไม่ได้แล้วว่าเอามาจากเว็บไหน   wanwan017
บันทึกการเข้า
jjmaster
หัวหน้าแก๊งเสียว
*

พลังน้ำใจ: 288
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,113



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #3 เมื่อ: 11 กรกฎาคม 2012, 22:34:55 »

กลยุทธ์การค้าแบบ B-to-C
รูปแบบการค้าแบบ Business-to-Consumer หรือ B-to-C หมายถึง การขายสินค้าไปยังผู้บริโภคทั่วโลกโดยตรง โดยบริษัทหรือองค์กรธุรกิจที่ขายด้วยวิธีนี้ จักตัดตัวกลาง ไม่ว่าเป็นผู้นำเข้า ผู้จัดจำหน่าย พ่อค้าส่ง และพ่อค้าปลีกออกหมด ทั้งนี้เพื่อต้องการทำกำไรได้มากขึ้น ในขณะเดียวกันก็สามารถขายสินค้าได้ถูกลงด้วย เนื่องจากไม่ต้องแบ่งกำไรให้พ่อค้าคนกลาง
แต่อย่างไรก็ตาม ในหลักการทางการตลาดแล้ว “การยิ่งเข้าใกล้ผู้บริโภคมากเท่า ไหร่ ก็หมายถึงว่า ท่านมีความเสี่ยงที่จะต้องแบกความรับผิดชอบกับผู้บริโภคมากขึ้นเท่านั้น” ซึ่งก็เป็นไปได้ที่ท่านอาจจะถูกฟ้องร้องได้ จากสาเหตุการใช้สินค้าของท่าน เหตุเพราะเมื่อไม่มีองค์กรธุรกิจอย่างผู้นำเข้า หรือพ่อค้าคนกลางในตลาดเป้าหมายมาคั่นกลางไว้ มันมีโอกาสมากที่ท่านจะประเมินสถานการณ์ผิดพลาดได้ ทั้งนี้ เพราะการได้รับข้อมูลข่าวสารจากตลาดดังกล่าวอาจจะมีข้อผิดพลาดได้ หรือไม่ได้รับเลย เช่น เรื่องความต้องการที่แท้จริงของตลาดนั้น หรือพฤติกรรมการใช้สินค้าของผู้บริโภคในตลาดนั้น เป็นต้น นั่นคือ ท่านจะมีความเสี่ยงตั้งแต่การขายสินค้าไม่ได้ เพราะไม่ทราบถึงมาตรฐานสินค้าที่ควรจะเป็น และแม้กระทั่งไม่ทราบถึงกฎระเบียบด้านความปลอดภัยและสุขภาพต่างๆ จากตลาดนั้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ ท่านจะต้องแลกเอากับการที่ท่านได้รับกำไรต่อหน่วยสินค้าที่สูงขึ้น ซึ่งท่านก็ต้องถามตัวท่านเองว่า พร้อมหรือถนัด หรือไม่? โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับการให้บริการแบบ “เบี้ยหัวแตก” ที่ท่านต้องเอาใจลูกค้าจากทั่วโลกแต่ละบุคคล ซึ่งอาจจะมีความต้องการในรายละเอียดที่จุกจิก ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่ต้องสนองตอบให้ได้ เพราะมันคือ “กุญแจของความสำเร็จ” ของการค้าแบบ B-to-C


เว็บตัวอย่าง
http://www.se-ed.com




กลยุทธ์การค้าแบบ B-to-B
B-to-B หรือ Business-to-Business หมายถึง การค้าขายระหว่างองค์กรกับองค์กร การค้าแบบนี้ ทุกฝ่ายจะมีความคาดหวังสูงมาก ตั้งแต่ราคาที่นำเสนอขาย ที่ต้องถูกเป็นพิเศษ ปริมาณสินค้าที่ค้ากันต้องมีจำนวนมาก คุณภาพของสินค้าที่ต้องดีเยี่ยม การส่งมอบสินค้าที่ตรงเวลา และที่สำคัญก็คือ ท่านต้องพร้อมที่จะรับความเสี่ยงจากการได้กำไรต่อหน่วยที่ต่ำ และหากเกิดความเสียหายขึ้นก็จะเป็นยอดเงินที่สูงมาก
และอีกอย่างหนึ่งที่ท่านต้องพิจารณา คือ ความพร้อมในการเจรจาค้าขายในปริมาณมากๆ ซึ่งนั่นหมายถึงว่า ถ้าท่านไม่ได้เป็นผู้ผลิต ตัวท่านเองก็ต้องมีอำนาจต่อรองที่จะไปเจรจาเอาสินค้าราคาถูก(พอที่จะแข่งขันกับคู่แข่งทั่วโลก)มาจากโรงงานได้
ความจริงแล้ว การค้าแบบ B-to-B นี้ ก็ไม่จำเป็นว่า จักต้องค้ากับองค์ธุรกิจด้วยกันเสมอไป เราอาจจะค้ากับองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรธุรกิจก็ได้ หรืออาจจะเรียกว่า Business-to-Organization หรือ B-to-O ซึ่งในที่นี้หมายถึงหน่วยราชการและองค์กรที่ไม่ค้ากำไร หรือ NGO (Non Government Organization) ซึ่งบรรดาพวกวัสดุสินเปลืองต่างๆ นั้น หน่วยราชการ หรือองค์กรที่ไม่มุ่งหวังกำไรทั้งหลาย ก็มีความจำเป็นต้องใช้ หรือรวมถึงอุปกรณ์ในสำนักงานอื่นๆ ด้วย ซึ่งหน่วยงานส่วนใหญ่ สามารถที่จะจัดงบประมาณสั่งซื้อได้เลยโดยไม่ต้องประกวดราคาให้วุ่นวาย ต้องเรียนว่า หน่วยงานเหล่านี้ปัจจุบันใช้อินเตอร์เน็ตกันเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นการเข้าถึงจึงเป็นสิ่งที่ไม่ยากเย็นนัก และบางองค์กรที่เป็นองค์กรนานาชาติ อย่างหน่วยงานที่เกี่ยวโยงกับสหประชาชาติ ท่านก็อาจจะมีโอกาสสูงเหมือนกัน ที่จะขายให้องค์เหล่านี้ที่มีอยู่ทั่วโลก


เว็บตัวอย่าง
http://www.b2bthai.com/



กลยุทธ์การค้าแบบ C-to-C
C2C  (C2C : Consumer to Consumer)  นั้นก็จะหมายถึง การทำธุรกิจที่ติดต่อกับโดยตรงระหว่างลูกค้ารายย่อยที่ซื้อข่ายกันเอง จุดเด่นของธุรกิจในลักษณะนี้ก็คือ แต่ละคนจะเป็นเจ้าของสินค้าและเปิดร้านค้าของตนเอง แต่ปริมาณสินค้าของตนยังน้อยอยู่ไม่คุ้มค่าที่จะลงทุนทำ E-business จึงมักจะมีตัวกันเป็นกลุ่ม หรือมีตัวแทนรวบรวมเจ้าของเจ้าของสินค้ารายย่อยเหล่านี้ไว้ด้วยกัน แล้วจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้เช่น สร้างโฮมเพจให้ จัดการระบบเก็บเงิน และ ระบบส่งของให้ คล้ายๆ กับกิจกรรม เปิดท้ายขายของ ตามที่ต่างๆ นั่นเอง สำหรับตัวอย่างของระบบ C2C นี้ได้แก่ โฮมเพจของ Thai.com ที่อนุญาตให้เราเข้าไปเปิดร้านค้าย่อยบนอินเทอร์เน็ตได้


เว็บตัวอย่าง
http://www.thaisecondhand.com


เพิ่งทำส่งอาจารย์เลยครับ  จำไม่ได้แล้วว่าเอามาจากเว็บไหน   wanwan017


 wanwan017 wanwan017
บันทึกการเข้า

LoveForever
ก๊วนเสียว
*

พลังน้ำใจ: 14
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 327



ดูรายละเอียด
« ตอบ #4 เมื่อ: 11 กรกฎาคม 2012, 22:35:16 »

แล้ว c2b อ่าค๊าบ
บันทึกการเข้า

Fighting
LoveForever
ก๊วนเสียว
*

พลังน้ำใจ: 14
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 327



ดูรายละเอียด
« ตอบ #5 เมื่อ: 12 กรกฎาคม 2012, 16:43:14 »

อัพ
บันทึกการเข้า

Fighting
emukidz
ก๊วนเสียว
*

พลังน้ำใจ: 51
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 293



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #6 เมื่อ: 12 กรกฎาคม 2012, 17:25:07 »

แล้ว c2b อ่าค๊าบ

C2B (Consumer-to-business) ก็เป็นรูปแบบการค้าที่ใกล้ตัวมากๆ จนเรานึกไม่ถึง .... Amazon ที่เราทำกันอยู่ไงครับ เป็นรูปแบบการค้าที่ Consumer หรือผู้ใช้นำสินค้ามา Reviews หรือวิเคราะห์สินค้า จนเว็บเราดังมีคนสนใจเข้ามาชมมาก เราก็จะทำธุรกิจ (Business) กับ Amazon โดยการเอาสินค้าที่เกี่ยวข้องกับที่เรา Reviews มาขาย ซึ่งถ้าขายได้ Amazon ก็จะแบ่งตังให้กับเรา หรือแม้แต่ Adsense ก็เป็นธุรกิจแบบ C2B คือ Consumer ทำธุรกิจกับ Business โดยนำเสนอสิ่งที่ Business ต้องการ ซึ่งในกรณี Adsense ที่เขาต้องการก็คือเนื้อหาเว็บที่ดีมีประโยชน์ของ Consumer ที่ทาง Google จะเอาไปขายต่อให้กับพวกที่ต้องการโฆษณาบนเว็บที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสินค้าตนเอง หรือพวกที่ทำ Adwords ไงครับ
บันทึกการเข้า

LoveForever
ก๊วนเสียว
*

พลังน้ำใจ: 14
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 327



ดูรายละเอียด
« ตอบ #7 เมื่อ: 12 กรกฎาคม 2012, 17:41:09 »

ตอนแรกผมคิดว่า 

amazon  อยู่ใน b2c อีกนะครับเนี่ย

แต่ adsense นี่น่าจะใช่เลยนะครับ

แล้วผมได้ตัวอย่างมา1เวป 
GreatShop.com

อยากรู้มากครับ  ว่าทำไมมันถึงเป็น c2b
บันทึกการเข้า

Fighting
LoveForever
ก๊วนเสียว
*

พลังน้ำใจ: 14
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 327



ดูรายละเอียด
« ตอบ #8 เมื่อ: 12 กรกฎาคม 2012, 18:07:02 »

เข้าใจแล้วนะครับ  

เดียวจะสรุปคร้าวๆให้ฟังนะครับ

ebanking กสิกร(โอนเงินออนไลน์)   lnwshop  
พวกนี้คือ c2b

สรุปคือให้เรามองในมุมที่
ลูกค้าเป็นคนเข้าไปหาบริษัท
ไม่ว่าจะเป็นไปขอซื้อ หรือ ขาย แลกเปลี่ยน ขอบริการ


ถ้ามองในมุม lnwshop ก็อาจจะเข้าไปติดต่อเรื่อง โปรโมชั่นเว็บเขา สั่งพวกทำพวก package ต่างๆ ประมาณนั้น

clear
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 12 กรกฎาคม 2012, 18:07:41 โดย LoveForever » บันทึกการเข้า

Fighting
securitybm
หัวหน้าแก๊งเสียว
*

พลังน้ำใจ: 99
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,279



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #9 เมื่อ: 12 กรกฎาคม 2012, 20:16:52 »

มาเก็บความรู้ขอบคุณนะครับ wanwan017 wanwan017
บันทึกการเข้า

รับทำเว็บไซต์ WordPress ราคาเริ่มต้นที่ 3500 บาท
รับทำเว็บไซต์ WordPress สนใจคลิกเลย
วาดไปเรื่อยๆ By LiboPz
tanjiratt
คนรักเสียว
*

พลังน้ำใจ: 7
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 147



ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #10 เมื่อ: 15 สิงหาคม 2012, 16:22:49 »

เพิ่มเติมค่ะท่านๆ

B2B มาจากคำว่า Business to Business คือ

การซื้อขายสินค้าและบริการ ระหว่าง องค์กรธุรกิจกับองค์กรธุรกิจ เช่น การซื้อวัตถุดิบมาผลิตเป็นสินค้า,
การซื้อสินค้าจากผู้ผลิตมาขายให้แก่ผู้บริโภคอีกทอดหนึ่ง เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่จะมีการสั่งซื้อเป็นจำนวนมาก สามารถ
แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ซื้อขาด และสั่งซื้ออย่างต่อเนื่อง โดยอาจจะเป็นไปได้ทั้งการค้าภายในประเทศ และ
การค้าระหว่างประเทศ เช่น การค้าระหว่างผู้ผลิตกับผู้ส่งออก, ผู้นำเข้ากับผู้จัดจำหน่าย, ผู้ผลิตกับผู้นำเข้า, ผู้ค้าส่งและ
ผู้ค้าปลีกเป็นต้น

B2B E-Marketing
คือกิจกรรมทางการตลาดผ่านช่องทางออนไน์ทั้งหมด ที่เกิดขึ้นระหว่างองค์กรธุรกิจกับองค์กร
ธุรกิจที่ส่งผลให้เกิดการซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างกัน การทำการตลาดสินค้าและบริการที่มีการซื้อ – ขาย แบบ B2B
จำเป็นที่จะต้องทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้กลุ่มลูกค้าที่เป็นองค์กร หรือ บริษัทที่เป็นกลุ่มลูกค้าหลัก เกิดความ “เชื่อมั่น” และ ”
ความภักดี ” (Loyalty) ต่อสินค้าและบริการของบริษัท และกลับมาซื้อซ้ำในที่สุด

ถ้าอยากได้ความรู้เรื่อง B to B เพิ่มเติม เชิญได้ที่ http://about.b2bthai.com/  
 
(ช่วงนี้ที่เว็บ B2BThai มี่การจัดสัมมนาด้วยนะคะ ติดตามได้ที่เว็บไซด์โลดด ขอบคุณค่ะ)

wanwan013
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 สิงหาคม 2012, 13:12:02 โดย tanjiratt » บันทึกการเข้า

รับเขียนบทความคุณภาพ งาน seo ขายของ โฆษณา บทความวิชาการ ความรู้ หลากหลายแนว
รองเท้าปักเลื่อม รองเท้าเพ้นท์ รองเท้าประดับเพชร
https://www.facebook.com/pages/Sneakers-me/1487442288250137
หน้า: [1]   ขึ้นบน
พิมพ์